The Factors Related to Depression of the Elders Who Had Non-Communicable Diseases in Health Promoting Hospital, Satakien, Soeng-sang, Nakhonratchasima Province ; ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลสระตะเคียน อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา

Dublin Core

Title

The Factors Related to Depression of the Elders Who Had Non-Communicable Diseases in Health Promoting Hospital, Satakien, Soeng-sang, Nakhonratchasima Province ; ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลสระตะเคียน อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา

Description

This research aims to : 1) the level of depression among the elderly are chronic non-communicable diseases on the Service Health Promotion Hospital District 2) study the relationship between personal factors. Physical health and social depression in the elderly are chronic non-communicable diseases on the Service Health Promotion Hospital District 3) study the predictive power of individual factors. Physical health and social depression in the elderly is chronic non-communicable diseases at the health district hospitals. The subjects of this study include the elderly, both male and female 275 people can talk communication. No impaired cognition. And is used in hospitals to promote health. District Swimming Showcase Soeng Sang, Nakhon Ratchasima. The researchers used health assessment of older people and a measure of depression among the elderly of Thailand (Thai Geriatric Depression Scale : TGDS) is a tool used in the research. Check the reliability of the questionnaire using the coefficient alpha of Akron destinations is equal to 0.679 Data were analyzed using descriptive statistics. Pearson's correlation coefficient. And multiple regression analysis The research found that The elderly in the parish pool Showcase is depressed percent, 41.45, no depression, 58.5 percent were depressed, a 29.8 percent depression mediocre 10.5 percent and depression is 1.1 percent of personal factors did not correlate with depression. Sadly the elderly Health factors that are associated with depression were statistically significant at the 0.05 level, including medical and health perception are correlated with depression among the elderly. A correlation coefficient of 0. If there are 198 elderly people with underlying health conditions and perceived levels will suffer depression at a high level as well. Social health factors that are associated with depression were statistically significant at the 0.05 level, including the right to maintain a positive relationship with depression in the elderly. A correlation coefficient of 0.134 shows that if the right treatment is highly problematic to cause depression. The variables that can predict depression. A significant statistical factors, including the financial aspects. Family relationship Medical care and the right, which could predict depression was 35.0 percent, a statistically significant level of 0.05 (= 0.350, p < .05). 134 provides that if the issue is high on the right treatment, it can cause depression. The variables that can predict depression. A significant statistical factors, including the financial aspects. Family relationship Medical care and the right, which could predict depression was 35.0 percent, a statistically significant level of 0.05 (= 0.350, p < .05). 134 provides that if the issue is high on the right treatment, it can cause depression. The variables that can predict depression. A significant statistical factors, including the financial aspects. Family relationship Medical care and the right, which could predict depression was 35.0 percent, a statistically significant level of 0.05 (= 0.350, p < .05). ; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล สุขภาพกายและสุขภาพสังคมกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3) ศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยส่วนบุคคล สุขภาพกายและสุขภาพสังคมกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้สูงอายุทั้งเพศชายและเพศหญิง จำนวน 275 คน สามารถพูดคุยสื่อสารได้ ไม่มีความบกพร่องทางด้านการรู้คิด และเป็นผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสระตะเคียน อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา ผู้วิจัยใช้แบบประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุและแบบวัดความซึมเศร้าในผู้สูงอายุของไทย (Thai Geriatric Depression Scale : TGDS) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ทำการตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาช มีค่าเท่ากับ 0.679 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุในตำบลสระตะเคียนมีผู้ซึมเศร้าร้อยละ 41.45 ไม่มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 58.5 แบ่งเป็นซึมเศร้าเล็กน้อยร้อยละ 29.8 ซึมเศร้าปานกลางร้อยละ 10.5 และซึมเศร้ามากร้อยละ 1.1 ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ปัจจัยด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ โรคประจำตัวและการรับรู้ภาวะสุขภาพโดยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.198 นั่นคือหากผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวและการรับรู้ภาวะสุขภาพในระดับสูงก็จะมีภาวะความซึมเศร้าในระดับสูงด้วย ปัจจัยด้านสุขภาพสังคมที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ สิทธิการรักษาโดยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.134 แสดงให้เห็นว่าหากผู้สูงมีปัญหาด้านสิทธิการรักษาก็จะทำให้เกิดปัญหาภาวะซึมเศร้า โดยตัวแปรที่สามารถทำนายภาวะซึมเศร้า ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยด้านการเงิน สัมพันธภาพในครอบครัว โรคประจำตัวและสิทธิการดูแลรักษาซึ่งสามารถร่วมกันทำนายภาวะซึมเศร้า ได้ร้อยละ 35.0 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 (= 0.350, p< .05)

Creator

ทบประดิษฐ์, รัชนีกร; กิตติ์ธนารุจน์, รินทร์หทัย

Date

2019

Language

TH

Type

บทความวารสาร

Identifier

https://www.tci-thaijo.org/index.php/JCDLQ/article/view/137873